วันอาทิตย์ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

DNA structure


โครงสร้างของดีเอ็นเอ (Structure of DNA)


โครงสร้างของดีเอ็นเอ(Structure of DNA) ซึ่งกรดนิวคลีอิก ชนิด ดีเอ็นเอ (DNA,deoxyribonucleic acids)
เป็นแหล่งในการเก็บข้อมูลทางพันธุกรรม (genetic information) ของสิ่งมีชีวิตโดย เจมส์ ดี. วัตสัน และ ฟรานซิส คริก (James D. Watson and
Francis Crick) ได้สร้างแบบจำลองโมเลกุลของดีเอ็นเอ (DNA) ดังนี้
1. มีสายพอลินิวคลีโอไทด์(polynucleotide) 2 สาย ยึดกันโดยการจับคู่กันของเบส โดยในสายพอลินิวคลีโอไทด์(polynucleotide)
ปลาย 3’ ของนิวคลีโอไทด์ (Nucleotide) หนึ่งจะจับกับปลาย 5’ ของนิวคลีโอไทด์(Nucleotide) อีกอันหนึ่ง แต่ละสายมีทิศทางจากปลาย 5’ ไปยัง 3’
เรียงตัวกลับสวนทิศทางกัน (Antiparallel)
2. เบสไทมีน(T) ยึดกับ เบสอะดีนีน(A) ด้วยพันธะไฮโดรเจนแบบพันธะคู่ หรือ double bonds ส่วน เบสไซโตซีน(C)ยึดกับเบสกัวนีน(G)
ด้วยพันธะไฮโดรเจนแบบพันธะสามหรือ triple bonds
3. พอลินิวคลีโอไทด์(polynucleotide)2สายพันกัน บิดเป็นเกลียวคล้ายบันไดเวียนขวาโดยมี น้ำตาลดีออกซีไรโบส(Deoxyribose Sugar)
จับกับหมู่ฟอสเฟต(phosphate group) คล้ายเป็นราวบันได
4. ใน 1 รอบเกลียวของ ดีเอ็นเอ (DNA) ประกอบด้วย คู่เบส 10 คู่
5. เกลียวแต่ละรอบห่างเท่ากับ 34 Å (อ่านว่า อังสตรอม) หรือ 3.4 nm และพอลินิวคลีโอไทด์(polynucleotide) 2 สาย
มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 20 Å หรือ 2 nm แต่ละคู่เบสห่างกับ 3.4 อังสตรอม หรือ 0.34 nm เกลียวเอียงทำมุม 36 องศา

ส่วนประกอบของโครโมโซม
ถ้าหากจะประมาณสัดส่วนระหว่าง DNA และโปรตีนที่เป็นองค์ประกอบของโครโมโซมของยูคาริโอต จะพบว่าประกอบด้วย DNA 1 ใน 3 และอีก 2 ใน 3 เป็นโปรตีน โดยส่วนที่เป็นโปรตีนจะเป็น ฮิสโตน(histone) และนอนฮิสโตน(non-histone) อย่างละประมาณเท่าๆกันในปี พ.ศ. 2427 นักวิทยาศาสตร์พบว่าฮิสโตนเป็นโปรตีนที่มีองค์ประกอบ ส่วนใหญ่เป็นกรดอะมิโนที่มีประจุบวก(basic amino acid) เช่น ไลซีน และอาร์จินีนทำให้มีสมบัติในการเกาะจับกับสาย DNA ซึ่งมีประจุลบได้เป็นอย่างดี และทำให้เกิดการสร้าง สมดุลของประจุ (neutralize)ของโครมาทินด้วยสาย DNA พันรอบกลุ่มโปรตีนฮิสโตนคล้ายเม็ดลูกปัด เรียกโครงสร้างนี้ว่า นิวคลีโอโซม (nucleosome) โดยจะมีฮิสโตนบางชนิดเชื่อมต่อระหว่างเม็ดลูกปัดแต่ละเม็ด ดังภาพ


DNA และฮิสโตนที่ประกอบกันเป็นโครโมโซมของยูคาริโอต
ที่มา  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์,  2544,หน้า48

สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
ชื่อสื่อการสอน  แบบจำลองโครงสร้างดีเอ็นเอ (DNA Structure)
แนวคิด           ดีเอ็นเอเป็นนิวคลีโอไทด์สายยาวสองสายพันกันเป็นเกลียวคู่วนขวา
แต่ละสายประกอบด้วย นิวคลีโอไทด์นับล้านหน่วย ซึ่งมีโครงสร้างประกอบด้วย
น้ำตาลเพนโทส  ไนโตรเจนเบส 4 ชนิด และหมู่ฟอสเฟต โดยลำดับเบสของนิวคลีโอไทด์จะมีข้อมูลทางพันธุกรรมบันทึกอยู่
วัตถุประสงค์     1. เพื่อเป็นสื่อในการเรียนการสอนเรื่อง โครงสร้างของดีเอ็นเอ
           2. เพื่อให้นักเรียนเกิดความเข้าใจถึงโครงสร้างดีเอ็นเอ


คู่มือการใช้สื่อ แบบจำลองแบบจำลองโครงสร้างดีเอ็นเอ (DNA Structure)

   เมื่อกดสวิตซ์ ไฟจะไหลจากทิศทางตั้งแต่
โครโมโซม  นิวคลีโอโซม  โปรตีนฮีสโตน   ดีเอ็นเอ  ซึ่งแสดงการคลายเกลียวของโครโมโซมไปจนถึงดีเอ็นเอ
   โมเดลดีเอ็นเอ สามารถถอดประกอบใหม่ได้ โดยจับคู่เบส คือ เบส A (adenine) คู่กับเบส T (thymine)     และเบส C (cytosine) คู่กับเบส G (guanine) ให้ถูกต้อง

ขอบคุณข้อมูลจาก
             วันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559   เวลา 19.10 น.

Continuous variation


การแปรผันทางพันธุกรรมแบบต่อเนื่อง

 การแปรผันทางพันธุกรรม  คือ ลักษณะที่แตกต่างกันของสิ่งมีชีวิต ความแปรผันทางพันธุกรรม     
  

ตัวอย่างการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมของผม (ผมหยิก ผมตรง)

การแปรผันทางพันธุกรรมแบบต่อเนื่อง (Continuous variation) เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างชัดเจน  มีความแตกต่างกันเพียงเล็กน้อย ความแตกต่างของลักษณะจะปรากฏเป็นลำดับต่อเนื่องกัน  ทำให้ยากต่อการจัดหมวดหมู่และอัตราส่วนจะแยกอย่างเด็ดขาดได้ยาก มักถูกควบคุมโดยยีนหลายคู่  Polygene หรือ  Multiple gene  แปรผันได้ง่ายเมื่อได้รับอิทธิพลจากสิ่งแวดล้อม สามารถวัดขนาดและปริมาณได้ (Quantitative trait ) ตัวอย่าง เช่น ในคน สีผิวปกติ / ความสูง / น้ำหนัก / โครงร่าง / ระดับสติปัญญา ฯลฯ ในสัตว์และพืช ขนาดของร่างกาย / ผลผลิต / ปริมาณการให้เนื้อ นม และไข่ ฯลฯ    
        เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างเด่นชัด เช่น ความสูง น้ำหนัก โครงร่าง สีผิว ซึ่งเกิดจากอิทธิพลของกรรมพันธุ์และสิ่งแวดล้อมร่วมกัน เช่น ความสูง ถ้าได้รับสารอาหารถูกต้องตามหลักโภชนาการและมีการออกกาลังกายก็จะทาให้มีร่างกายสูงได้

สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
ชื่อสื่อการสอน   มิวเทชัน (Mutation)
แนวคิด           มิวเทชันเป็นการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมในระดับยีนหรือโครโมโซม ซึ่งเป็นผลมาจาก
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับดีเอ็นเอ โดยมิวเทชันที่เกิดในเซลล์สืบพันธุ์สามารถถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกและหลานได้ การแปรผันทางพันธุกรรมทำให้สิ่งมีชีวิตที่เกิดใหม่มีลักษณะที่แตกต่างกันหลากหลายชนิดก่อให้เกิดเป็นความหลากหลายทางชีวภาพ
วัตถุประสงค์    1. เพื่อเป็นสื่อในการเรียนการสอนเรื่องมิวเทชันเป็นการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
                    2. เพื่อให้นักเรียนเห็นถึงการแปรผันทางพันธุกรรม


คู่มือการใช้สื่อ มิวเทชัน (Mutation)
§  Gene mutation ประกอบด้วยโมเดล Normal Cell กับ โมเดล Sickle Cell
§  Chromosome mutation Down‘s syndrome เมื่อเปิดฝาออกจะมีโมเดล Down syndrome symptoms ประกอบด้วย Normal (คนปกติ) กับ Abnormal (ลักษณะคนเป็นดาวน์ซินโดรม)
§  โมเดล Continuous variation (ลักษณะการถ่ายทอดทางพันธุกรรมผมตรง ผมหยิก)
§  โมเดล Discontinuous variation (ตาชั้นเดียวกับตาสองชั้น)


ขอบคุณข้อมูลจาก
วันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559   เวลา 18.20 น.






Continuous variation


การแปรผันทางพันธุกรรมแบบต่อเนื่อง
การแปรผันทางพันธุกรรม  คือ ลักษณะที่แตกต่างกันของสิ่งมีชีวิต ความแปรผันทางพันธุกรรม




ตัวอย่างการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมของผม (ผมหยิก ผมตรง)


การแปรผันทางพันธุกรรมแบบต่อเนื่อง (Continuous variation) เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างชัดเจน  มีความแตกต่างกันเพียงเล็กน้อย ความแตกต่างของลักษณะจะปรากฏเป็นลำดับต่อเนื่องกัน  ทำให้ยากต่อการจัดหมวดหมู่และอัตราส่วนจะแยกอย่างเด็ดขาดได้ยาก มักถูกควบคุมโดยยีนหลายคู่  Polygene หรือ  Multiple gene  แปรผันได้ง่ายเมื่อได้รับอิทธิพลจากสิ่งแวดล้อม สามารถวัดขนาดและปริมาณได้ (Quantitative trait ) ตัวอย่าง เช่น ในคน สีผิวปกติ / ความสูง / น้ำหนัก / โครงร่าง / ระดับสติปัญญา ฯลฯ ในสัตว์และพืช ขนาดของร่างกาย / ผลผลิต / ปริมาณการให้เนื้อ นม และไข่ ฯลฯ    
        เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างเด่นชัด เช่น ความสูง น้ำหนัก โครงร่าง สีผิว ซึ่งเกิดจากอิทธิพลของกรรมพันธุ์และสิ่งแวดล้อมร่วมกัน เช่น ความสูง ถ้าได้รับสารอาหารถูกต้องตามหลักโภชนาการและมีการออกกาลังกายก็จะทาให้มีร่างกายสูงได้

สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
ชื่อสื่อการสอน   มิวเทชัน (Mutation)
แนวคิด           มิวเทชันเป็นการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมในระดับยีนหรือโครโมโซม ซึ่งเป็นผลมาจาก
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับดีเอ็นเอ โดยมิวเทชันที่เกิดในเซลล์สืบพันธุ์สามารถถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกและหลานได้ การแปรผันทางพันธุกรรมทำให้สิ่งมีชีวิตที่เกิดใหม่มีลักษณะที่แตกต่างกันหลากหลายชนิดก่อให้เกิดเป็นความหลากหลายทางชีวภาพ
วัตถุประสงค์    1. เพื่อเป็นสื่อในการเรียนการสอนเรื่องมิวเทชันเป็นการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
                    2. เพื่อให้นักเรียนเห็นถึงการแปรผันทางพันธุกรรม


คู่มือการใช้สื่อ มิวเทชัน (Mutation)
§  Gene mutation ประกอบด้วยโมเดล Normal Cell กับ โมเดล Sickle Cell
§  Chromosome mutation Down‘s syndrome เมื่อเปิดฝาออกจะมีโมเดล Down syndrome symptoms ประกอบด้วย Normal (คนปกติ) กับ Abnormal (ลักษณะคนเป็นดาวน์ซินโดรม)
§  โมเดล Continuous variation (ลักษณะการถ่ายทอดทางพันธุกรรมผมตรง ผมหยิก)
§  โมเดล Discontinuous variation (ตาชั้นเดียวกับตาสองชั้น)

ขอบคุณข้อมูลจาก
           วันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559   เวลา 17.50 น.
           





Continuous variation


การแปรผันทางพันธุกรรมแบบต่อเนื่อง
การแปรผันทางพันธุกรรม  คือ ลักษณะที่แตกต่างกันของสิ่งมีชีวิต ความแปรผันทางพันธุกรรม




ตัวอย่างการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมของผม (ผมหยิก ผมตรง)


การแปรผันทางพันธุกรรมแบบต่อเนื่อง (Continuous variation) เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างชัดเจน  มีความแตกต่างกันเพียงเล็กน้อย ความแตกต่างของลักษณะจะปรากฏเป็นลำดับต่อเนื่องกัน  ทำให้ยากต่อการจัดหมวดหมู่และอัตราส่วนจะแยกอย่างเด็ดขาดได้ยาก มักถูกควบคุมโดยยีนหลายคู่  Polygene หรือ  Multiple gene  แปรผันได้ง่ายเมื่อได้รับอิทธิพลจากสิ่งแวดล้อม สามารถวัดขนาดและปริมาณได้ (Quantitative trait ) ตัวอย่าง เช่น ในคน สีผิวปกติ / ความสูง / น้ำหนัก / โครงร่าง / ระดับสติปัญญา ฯลฯ ในสัตว์และพืช ขนาดของร่างกาย / ผลผลิต / ปริมาณการให้เนื้อ นม และไข่ ฯลฯ    
        เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างเด่นชัด เช่น ความสูง น้ำหนัก โครงร่าง สีผิว ซึ่งเกิดจากอิทธิพลของกรรมพันธุ์และสิ่งแวดล้อมร่วมกัน เช่น ความสูง ถ้าได้รับสารอาหารถูกต้องตามหลักโภชนาการและมีการออกกาลังกายก็จะทาให้มีร่างกายสูงได้

สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
ชื่อสื่อการสอน   มิวเทชัน (Mutation)
แนวคิด           มิวเทชันเป็นการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมในระดับยีนหรือโครโมโซม ซึ่งเป็นผลมาจาก
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับดีเอ็นเอ โดยมิวเทชันที่เกิดในเซลล์สืบพันธุ์สามารถถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกและหลานได้ การแปรผันทางพันธุกรรมทำให้สิ่งมีชีวิตที่เกิดใหม่มีลักษณะที่แตกต่างกันหลากหลายชนิดก่อให้เกิดเป็นความหลากหลายทางชีวภาพ
วัตถุประสงค์    1. เพื่อเป็นสื่อในการเรียนการสอนเรื่องมิวเทชันเป็นการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
                    2. เพื่อให้นักเรียนเห็นถึงการแปรผันทางพันธุกรรม


คู่มือการใช้สื่อ มิวเทชัน (Mutation)
§  Gene mutation ประกอบด้วยโมเดล Normal Cell กับ โมเดล Sickle Cell
§  Chromosome mutation Down‘s syndrome เมื่อเปิดฝาออกจะมีโมเดล Down syndrome symptoms ประกอบด้วย Normal (คนปกติ) กับ Abnormal (ลักษณะคนเป็นดาวน์ซินโดรม)
§  โมเดล Continuous variation (ลักษณะการถ่ายทอดทางพันธุกรรมผมตรง ผมหยิก)
§  โมเดล Discontinuous variation (ตาชั้นเดียวกับตาสองชั้น)

ขอบคุณข้อมูลจาก
           วันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559   เวลา 17.50 น.
           





Continuous variation


การแปรผันทางพันธุกรรมแบบต่อเนื่อง
การแปรผันทางพันธุกรรม  คือ ลักษณะที่แตกต่างกันของสิ่งมีชีวิต ความแปรผันทางพันธุกรรม




ตัวอย่างการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมของผม (ผมหยิก ผมตรง)


การแปรผันทางพันธุกรรมแบบต่อเนื่อง (Continuous variation) เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างชัดเจน  มีความแตกต่างกันเพียงเล็กน้อย ความแตกต่างของลักษณะจะปรากฏเป็นลำดับต่อเนื่องกัน  ทำให้ยากต่อการจัดหมวดหมู่และอัตราส่วนจะแยกอย่างเด็ดขาดได้ยาก มักถูกควบคุมโดยยีนหลายคู่  Polygene หรือ  Multiple gene  แปรผันได้ง่ายเมื่อได้รับอิทธิพลจากสิ่งแวดล้อม สามารถวัดขนาดและปริมาณได้ (Quantitative trait ) ตัวอย่าง เช่น ในคน สีผิวปกติ / ความสูง / น้ำหนัก / โครงร่าง / ระดับสติปัญญา ฯลฯ ในสัตว์และพืช ขนาดของร่างกาย / ผลผลิต / ปริมาณการให้เนื้อ นม และไข่ ฯลฯ    
        เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างเด่นชัด เช่น ความสูง น้ำหนัก โครงร่าง สีผิว ซึ่งเกิดจากอิทธิพลของกรรมพันธุ์และสิ่งแวดล้อมร่วมกัน เช่น ความสูง ถ้าได้รับสารอาหารถูกต้องตามหลักโภชนาการและมีการออกกาลังกายก็จะทาให้มีร่างกายสูงได้

สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
ชื่อสื่อการสอน   มิวเทชัน (Mutation)
แนวคิด           มิวเทชันเป็นการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมในระดับยีนหรือโครโมโซม ซึ่งเป็นผลมาจาก
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับดีเอ็นเอ โดยมิวเทชันที่เกิดในเซลล์สืบพันธุ์สามารถถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกและหลานได้ การแปรผันทางพันธุกรรมทำให้สิ่งมีชีวิตที่เกิดใหม่มีลักษณะที่แตกต่างกันหลากหลายชนิดก่อให้เกิดเป็นความหลากหลายทางชีวภาพ
วัตถุประสงค์    1. เพื่อเป็นสื่อในการเรียนการสอนเรื่องมิวเทชันเป็นการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
                    2. เพื่อให้นักเรียนเห็นถึงการแปรผันทางพันธุกรรม


คู่มือการใช้สื่อ มิวเทชัน (Mutation)
§  Gene mutation ประกอบด้วยโมเดล Normal Cell กับ โมเดล Sickle Cell
§  Chromosome mutation Down‘s syndrome เมื่อเปิดฝาออกจะมีโมเดล Down syndrome symptoms ประกอบด้วย Normal (คนปกติ) กับ Abnormal (ลักษณะคนเป็นดาวน์ซินโดรม)
§  โมเดล Continuous variation (ลักษณะการถ่ายทอดทางพันธุกรรมผมตรง ผมหยิก)
§  โมเดล Discontinuous variation (ตาชั้นเดียวกับตาสองชั้น)

ขอบคุณข้อมูลจาก
           วันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559   เวลา 17.50 น.
           





Gene mutation



โรคโลหิตจางจากเม็ดเลือดแดงรูปเคียวหรือ sickle cell anemia


มีชื่อเรียกอื่นๆ เช่น Hemoglobin S disease ,HbS disease ,Sickle cell disorders และ Sickle cell disease
อยู่ในกลุ่มของโรคประเภท ระบบไหลเวียนเลือด
ผู้ค้นพบ Jame B. Herrick



สาเหตุของการเกิดโรค
เกิดจากการเปลี่ยนแปลงเบสของยีนเบตาโกลบิล ที่ควบคุมการสร้างสายโปรตีน (Polypeptide) สายเบตาของฮีโมโกลบิน (ในเม็ดเลือดแดงของคนแต่ละเม็ดมีฮีโมโกลบินประกอบอยู่ถึง 280 ล้านโมเลกุล แต่ละโมเลกุลของฮีโมโกลบินประกอบด้วยโปรตีน 1 โมเลกุล และสารอินทรีย์ 4 หน่วยซึ่งมีอะตอมของธาตุเหล็กอยู่ตอนกลาง) ยีนเบตาโกลบินที่ผิดปกติ จะมีลำดับเบสบนยีนเปลี่ยนจาก CTC ไปเป็น CAC ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงกรดอะมิโนที่สร้างขึ้น (ยีนทำหน้าที่ควบคุมการสร้างโปรตีน ในกรณีนี้รหัสของเบสในยีนเปลี่ยน ทำให้ชนิดของโปรตีนเปลี่ยนไปด้วย)
ยีนเบตาโกลบินในคนปกติแปลรหัสเป็นกรดกลูตามิก แต่ในคนที่เป็นโลหิตจางชนิดซิกเคิลเซลล์กลับมีการแปลรหัสเป็นวาลีน

อาการของโรค
Sickle cell disease เป็นภาวะความผิดปกติตั้งแต่กำเนิดของ hemoglobin เป็นสาเหตุให้เซลล์เม็ดเลือดแดงกลายเป็น C-shaped ซึ่งโดยปกติแล้วตัวเม็ดเลือดแดง (RBC) จะมีความยืดหยุ่นได้ระดับหนึ่งเพื่อง่ายต่อการเคลื่อนที่ไปยังหลอดเลือดต่างๆ ส่วนปลาย ซึ่งจะมีขนาดเล็กและคดเคี้ยว แต่ผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้ตัวRBC จะเสียความยืดหยุ่นไปทำให้เกิดการอุดตันของRBC ในหลอดเลือดบริเวณต่างๆ อีกทั้ง Sickle cell จะตายและแตกง่ายกว่าเซลล์ปกติ ทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง

การถ่ายทอด (Inheritance)
จะถ่ายทอดโดยผ่านทางสายเลือด ทำให้ลูกมีการแสดงฟีโนไทป์ออกมาเหมือนกับพ่อกับแม่ เช่น สีผม สีตา สีผิว หรือลักษณะทางกายภาพอื่นๆที่เราสามารถมองเห็นได้ภายนอก ถ้าพ่อหรือแม่คนใดคนหนึ่งเป็นโรคนี้ (ยีนเป็น SS)  และอีกคนหนึ่งเป็นพาหะของโรค (ยีนเป็น Ss) จะทำให้ลูกมีโอกาสเป็นโรคนี้ได้ 50 เปอร์เซ็นต์ แต่ถ้าพ่อและแม่เป็นพาหะของโรคนี้ ก็จะทำให้ลูกเป็นโรคนี้ได้ 25 เปอร์เซ็นต์

 

สรุป
เป็นโรคโลหิตจางชนิดหนึ่งที่พบในแอฟริกา มีลักษณะเม็ดเลือดแดงเป็นรูปเคียวเกี่ยวข้าว ซึ่งถูกทำลายได้ง่ายกว่าปกติ และขนส่งออกซิเจนไม่ได้ ยีนนี้เกิดจากความผิดปกติของกรดอะมิโนในโมเลกุลของ Hemoglobin เป็น Missence mutation กรดอะมิโนตัวที่ 6 จากกรดกลูตามิกเป็นวาลีน โดยมักจะพบโรคนี้คู่กับโรคมาเลเลียชนิด Plasmodium faciparum


สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
ชื่อสื่อการสอน   มิวเทชัน (Mutation)
แนวคิด           มิวเทชันเป็นการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมในระดับยีนหรือโครโมโซม ซึ่งเป็นผลมาจาก
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับดีเอ็นเอ โดยมิวเทชันที่เกิดในเซลล์สืบพันธุ์สามารถถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกและหลานได้ การแปรผันทางพันธุกรรมทำให้สิ่งมีชีวิตที่เกิดใหม่มีลักษณะที่แตกต่างกันหลากหลายชนิดก่อให้เกิดเป็นความหลากหลายทางชีวภาพ
วัตถุประสงค์    1. เพื่อเป็นสื่อในการเรียนการสอนเรื่องมิวเทชันเป็นการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
                    2. เพื่อให้นักเรียนเห็นถึงการแปรผันทางพันธุกรรม




คู่มือการใช้สื่อ มิวเทชัน (Mutation)
§  Gene mutation ประกอบด้วยโมเดล Normal Cell กับ โมเดล Sickle Cell
§  Chromosome mutation Down‘s syndrome เมื่อเปิดฝาออกจะมีโมเดล Down syndrome symptoms ประกอบด้วย Normal (คนปกติ) กับ Abnormal (ลักษณะคนเป็นดาวน์ซินโดรม)
§  โมเดล Continuous variation (ลักษณะการถ่ายทอดทางพันธุกรรมผมตรง ผมหยิก)
§  โมเดล Discontinuous variation (ตาชั้นเดียวกับตาสองชั้น)

ขอบคุณข้อมูลจาก                                                                                       https://th.wikipedia.org/wiki
วันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559   เวลา 17.19 น.